http://www.mindbrainchildactivity.com
  
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

หน้าแรก

 โปรแกรม Mind Brain

การทดสอบของศูนย์

 บทความน่าสนใจ

 ให้คำปรึกษาปัญหาเด็ก

 ภาพสถานที่

 ศูนย์กระตุ้นพัฒนาการเด็กเชียงใหม่

งานวิจัยที่น่าสนใจ

สมาธิสั้น (ADHD) vs (SPD)

พัฒนาการเด็ก Developmental

การบูรณาการประสาทความรู้สึกสมองของเด็ก SI

หนังสือแนะนำ

22 เหตุผลที่ทำไมเด็กถึงนั่งนิ่งๆ อยู่กับที่ไม่ได้

บุตรของท่านมีปัญหาพฤติกรรม หรือปัญหาเกิดจากความบกพร่องของการบูรณาการประสาทความรู้สึก

เคล็ดลับสำหรับเด็กที่มีปัญหาการบูรณาการระบบประสาทความรู้สึก (Sensory Processing Disorder) ไม่ให้วุ่นวายในฤดูการท่องเที่ยว

เมื่อปัญหาในการบูรณาการประสาทความรู้สึกสมองส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็ก

เด็กติดแม่ งอแง ร้องไห้ ไม่ยอมไปโรงเรียน อาจเป็นสัญญาณของปัญหาความเครียด หรือปัญหาภาวะวิตกกังวลต่อการแยกจาก (Separation Anxiety)

ปัญหาการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กอัจฉริยะ ปัญญาเลิศ (Gifted Child)

เด็กคลอดก่อนกำหนด และเด็กอัจฉริยะ ปัญญาเลิศ (Gifted Children)

The Vestibular Sense/ระบบรักษาสมดุลการทรงตัว

ปัญหาการบูรณาการประสาทความรู้สึกพื้นฐานในเด็กที่คลอดก่อนกำหนด

The Tactile Sense; ระบบการรับสัมผัส

The Proprioceptive Sense ระบบกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ

ปัญหาพฤติกรรม (Behavior problems) ที่พบร่วมกับการบูรณาการประสาทความรู้สึกที่บกพร่อง (SID)

ปัญหาในการบูรณาการณ์ประสาทความรู้สึกพื้นฐานของเด็กที่ควรรู้

ภาวะหลีกหนีการสัมผัส TD

Sensory Integration & Sensory Integration dysfunction

ทักษะการเขียน : Handwritting

Special Education

สินค้า

 Siren Whistle

สถิติ

เปิดเว็บ03/08/2010
อัพเดท10/11/2023
ผู้เข้าชม957,554
เปิดเพจ1,167,640

ครูประกบ (Shadow Teacher)

ครูประกบ (Shadow Teacher)

Shadow Teachers: ครูประกบ

เด็กทุกคนควรได้รับการสนับสนุนทางด้านการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะการศึกษา ทักษะสังคม และการช่วยเหลือตนเอง ซึ่งในโรงเรียนนั้นครูมีบทบาทในการช่วยเหลือเด็กพัฒนาความรู้ความเข้าใจในสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น เรียนรู้การอ่าน การเขียน การนับ และครูยังช่วยให้เด็กเข้าใจเกี่ยวกับกฎการเล่น การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การดูแล และการแบ่งปัน แต่ทว่าไม่ใช่เด็กทุกคนที่จะเรียนรู้ได้เหมือนคนอื่น บางคนต้องการการช่วยเหลือแบบพิเศษในบางด้านของการเรียนรู้ ซึ่งมีหลายสาเหตุที่ทำให้เด็กต้องการการช่วยเหลือแบบพิเศษ ได้แก่

• มีปัญหาสมาธิ (Attention difficulties)
• มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านภาษาและการคำนวณ (Dyslexia or dyscalculia) 
• มีปัญหาความเข้าใจจากการอ่าน (Reading & comprehension difficulties)
• มีปัญหาการเขียน (Creative writing challenges)
• มีปัญหาพฤติกรรม (Behavioural difficulties) 
• มีปัญหากล้ามเนื้อมัดเล็ก หรือกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Difficulties with fine or gross motor skills)

การที่มีผู้คอยช่วยเหลือให้คำแนะนำแก่เด็กเหล่านี้ในห้องเรียนเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก ครูประกบ (Shadow teachers) มีส่วนสำคัญมากในการช่วยให้เด็กสามารถเรียนรู้ได้ในโรงเรียน โดยมีบทบาทในการสนับสนุนแบบรายบุคคลให้เด็กสามารถ

• พัฒนาสมาธิ (Developing skills in attention) 
• พัฒนาทักษะการเขียน (Support with handwriting)
• ดำเนินการและพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ (Developing and implementing behaviour support plans)
• ช่วยสนับสนุนและดำเนินการตามเป้าหมายการศึกษารายบุคคล (Contributing to the development and implementation of IEP targets)

อีกทั้งครูประกบยังสามารถช่วยเหลือเด็กให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้โดยนักวิชาชีพต่างๆ เช่น นักฝึกพูด (speech and language therapists) หรือนักกิจกรรมบำบัด (Occupational Therapists) เพื่อช่วยเหลือ และสนับสนุนให้เด็กสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ

Reference: The Developing Child Centre, http://www.tdcc.ae/shadow-teachers.php

เรียบเรียงโดย Mind Brain & Body 2015

view

 หน้าแรก

 บทความ

 เว็บบอร์ด

 รวมรูปภาพ

 ติดต่อเรา

view